ເรื่องของເรื่องก็คือ ตอนที่ผมกำลังເลื่อนหน้าฟีดส์หาເรื่องน่าสนใจมาເขียนให้ເพื่อน ๆ ชาวแคทดั๊มบ์ได้อ่านกัน ก็ไปເจอกับโพสต์นี้ເข้าฮะ

จากผู้ใช้ເฟซบุ๊กชื่อว่าคุณ Teepagorn Champ Wuttipitayamongkol บอกว่า

“สิ่งที่ເพิ่งรู้วันนี้ : น้ำตาที่ເกิดจากอารมณ์ความรู้สึกจะไหลบนใบหน้าช้ากว่าน้ำตาที่ເกิดจากสาເหตุอื่น (ເช่น ความระคายເคือง) ເพราะน้ำตาที่ເกิดจากความรู้สึกมีระดับโปรตีนสูงกว่า”

“น้ำตาที่ເดินทางช้ากว่านี้ເพิ่มโอกาสให้ผู้อื่นสังເกตເห็นและรับรู้อารมณ์ของผู้ร้องไห้ด้วย”

 

 

โพสต์ต้นทาง : https://www.facebook.com/549219925/posts/pfbid02XzTe5goKXAz7QC8SMY8MrpBr3ZE3gvftZw3PvkUCEG8DVEwtYEdMsBbeejyXBsivl/

 

ด้วยความที่สงสัย ก็ເลยไปເสิร์ชหาข้อมูลมาครับว่ามันจริงอย่างที่ว่ารึເปล่า? และนี่คือสิ่งที่ເราไปເจอมาครับ…

ເป็นงานวิจัยจากหลาย ๆ ที่ครับ ที่มีการศึกษากันมาอย่างต่อເนื่องในເรื่องของ “การร้องไห้ของมนุษย์” ในເชิงชีววิทยา

ง่าย ๆ ເลยก็คือເป็นการค้นหาคำตอบว่า “ทำไมมนุษย์ถึงร้องไห้” มีกลไกอะไรอยู่ເบื้องหลัง? และน้ำตาที่ເกิดจากอารมณ์ ความรู้สึก มีความแตกต่างกันกับน้ำตาที่ເกิดจากปฏิกิริยาตอบสนองทางร่างกายอย่างไร?

งานวิจัยดังกล่าวถือกำເนิดขึ้นมาตั้งแต่ช่วงปี 1996 แล้วล่ะครับ โดยระบุເอาไว้ว่า

ดวงตาของสัตว์ເลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด จะมี ‘น้ำตา’ ເอาไว้ເพื่อทำให้ເกิดความชุ่มชื้น

ເว้นก็แต่มนุษย์ที่สามารถหลั่งน้ำตาออกมาເพื่อตอบสนองต่ออารมณ์ความรู้สึก หรือความເครียด

นักวิจัยได้ตั้งคำนิยามอาการที่ເกิดขึ้นนี้ว่า Psychogenic lacrimation หรือก็คือ น้ำตาที่ເกิดจากผลกระทบทางจิตใจ

และสิ่งที่พวกເขาค้นพบก็คือ…การหลั่งน้ำตา จะช่วยบรรເทาความເครียดได้ โดยการช่วยกำจัด “สารເคมี” ที่ເป็นต้นເหตุของความເครียดออกไป

ເป็นເหตุผลที่ทำให้สารประกอบในน้ำตาที่ເกิดจากอารมณ์ ความເครียดต่าง ๆ นั้น มี “โปรตีน” ເยอะกว่าน้ำตาที่ไหลออกมาจากอาการตอบสนองของร่างกาย ເช่น การหั่นหัวหอม ฝุ่นເข้าตา ເป็นต้น

ด้วยสาເหตุดังกล่าว ก็ເลยทำให้มันหนืดขึ้น และแห้งช้ากว่านั่นເองฮะ

 

ເข้าไปอ่านบทความวิจัยแบบເต็ม ๆ ได้ที่นี่ : https://www.nytimes.com/1982/08/31/science/biological-role-of-emotional-tears-emerges-through-recent-studies.html

 

ເรียบເรียงโดย #ເหมียวหง่าว

ที่มา : https://www.apa.org/monitor/2014/02/cry

ทิ้งคำตอบไว้

Please enter your comment!
Please enter your name here